วันพฤหัสบดีที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

แบบฝึกหัดบทที่ 14


แบบฝึกหัดบทที่ 14  เรื่องกฎหมายโรงงาน และการจัดตั้งโรงงาน

1. โรงงานคืออะไร
    . อาคาร สถานที่หรือยานพาหนะ
    ข. ใช้เครื่องจักรตั้งแต่ 5 แรงม้า หรือใช้คนงานตั้งแต่ 7 คนขึ้นไป
    ค. เพื่อผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อมบำรุง ทดสอบ ปรับปรุงแปรสภาพ เก็บรักษา หรือ ทำลายสิ่งใด ๆ
    . ถูกทุกข้อ

2. กฎหมายโรงงานกำหนดแบ่งโรงงานออกเป็นกี่ประเภท
    ก. 1 ประเภท         ข. 2 ประเภท
    ค. 3 ประเภท         ง. 4 ประเภท

3. โรงงานที่ใช้เครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า คือ
    ก. โรงงานจำพวกที่ 1         ข. โรงงานจำพวกที่ 2
    ค. โรงงานจำพวกที่ 3         ง. ไม่มีข้อใดถูก

4. โรงงานที่ใช้เครื่องจักรเกิน 20 แรงม้า แต่ไม่เกิน 50 แรงม้า คือ
    ก. โรงงานจำพวกที่ 1         ข. โรงงานจำพวกที่ 3
    ค. โรงงานจำพวกที่ 2         ง. ไม่มีข้อใดถูก

5. โรงงานที่ไปใช้เครื่องจักรเกิน 50 แรงม้า คือ
    ก. โรงงานจำพวกที่ 1         ข. โรงงานจำพวกที่ 4
    ค. โรงงานจำพวกที่ 2         ง. โรงงานจำพวกที่ 3

6. โรงงานจำพวกใดห้ามรับเหมาก่อสร้างโรงงานในบริเวณบ้านจัดสรรเพื่อการพักอาศัยอาคารชุดพักอาศัยและบ้านแถวเพื่อการพักอาศัย
      ก. โรงงานจำพวกที่ 1
      ข. โรงงานจำพวกที่ 2
      ค. โรงงานจำพวกที่ 3
      ง. โรงงานจำพวกที่ 1 2 และ 3

7. โรงงานจำพวกใดรับเหมาก่อสร้างโรงงานภายในระยะ 50 เมตร จากเขตติดต่อโรงเรียน สถาบันการศึกษา วัด ศาสนสถาน โรงพยาบาล
      ก. โรงงานจำพวกที่ 1
      ข. โรงงานจำพวกที่ 2
      ค. โรงงานจำพวกที่ 3
      ง. โรงงานจำพวกที่ 1 และ 2

8. กฎหมายโรงงานกำหนดแบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภท ขึ้นอยู่กับ..............
      ก. ความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน
      ข. การป้องกันความเสียหาย
      ค. การป้องกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมี ต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อม
      ง. ถูกทุกข้อ

9.  ชนิดกิจการกำหนดในกฎกระทรวงอุตสาหกรรมใด
      ก. กฎกระทรวงอุตสาหกรรม 104
      ข. กฎกระทรวงอุตสาหกรรม 105
      ค. กฎกระทรวงอุตสาหกรรม 106
      ง. กฎกระทรวงอุตสาหกรรม 107

10. กฎหมายโรงงานกำหนดแบ่งโรงงานเป็น 3 ประเภท ขึ้นอยู่กับ..............
      ก. ความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน
      ข. การป้องกันความเสียหาย
      ค. การป้องกันอันตรายตามระดับความรุนแรงของผลกระทบที่จะมี ต่อประชาชนหรือสิ่งแวดล้อม
      ง. ถูกทุกข้อ

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 14
1.   ง.
2.   ค.
3.   ก.
4.   ค.
5.   ง.
6.   ข.
7.   ง.
8.   ง.
9.   ก.
10.  ง.

แบบฝึกหัดบทที่ 13


แบบฝึกหัดบทที่ 13  เรื่องกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา

1. ทรัพย์สินทางปัญญาออกได้กี่ประเภทหลัก
    . 797
    ข. 798 , 810
    . 811, 812
    . ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดคือ สิทธิของนายหน้า
ก. 1 ประเภท         ข. 3 ประเภท
ค. 2 ประเภท         ง. 4 ประเภท

3. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมยังแบ่งออกได้กี่ประเภท
ก. 5 ประเภท         ข. 4 ประเภท
ค. 3 ประเภท         ง. 2 ประเภท

4. ข้อใดทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม
    . สิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร
    . เครื่องหมายการค้า
    . ถูกทุกข้อ
    . ไม่มีข้อใดถูก

5. ข้อใดไม่ใช่สิทธิบัตร
      ก. สิทธิบัตรการประดิษฐ์
      ข. สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์
      ค. อนุสิทธิบัตร
      ง. ถูกทุกข้อ

6. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรมหมายถึง
      ก. สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น
      ข. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
      ค. หรือ ยี่ห้อ ใช้สัญลักษณ์สากลคือ หรือ ® หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้
      ง. เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรม

7. ลิขสิทธิ์หมายถึง
      ก. เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรม
      ข. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
      ค. หรือ ยี่ห้อ ใช้สัญลักษณ์สากลคือ หรือ ® หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้
      ง. สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น

8. สิทธิบัตรหมายถึง
      ก. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
      ข. เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรม
      ค. หรือ ยี่ห้อ ใช้สัญลักษณ์สากลคือ หรือ ® หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้
      ง. สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น

9.  เครื่องหมายการค้าหมายถึง
      ก. หรือ ยี่ห้อ ใช้สัญลักษณ์สากลคือ หรือ ® หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้
      ข. เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรม
      ค. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
      ง. สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น

10. สัญลักษณ์ หรือ เครื่องหมาย (Symbol) หมายถึง
      ก. สิ่งที่ใช้แทนความหมายของอีกสิ่งหนึ่ง สัญลักษณ์ หมายถึง วัตถุ อักษร รูปร่าง หรือสีสัน
      ข. เป็นความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้าอุตสาหกรรม โดยอาจเป็นความคิดในการประดิษฐ์คิดค้น การออกแบบผลิตภัณฑ์ ทางอุตสาหกรรม
      ค. หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์คิดค้นหรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ ที่มีลักษณะตามที่กำหนดในกฎหมาย กฎกระทรวง
      ง. สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 13
1.   ง.
2.   ค.
3.   ก.
4.   ค.
5.   ง.
6.   ข.
7.   ง.
8.   ง.
9.   ก.
10.  ค.

แบบฝึกหัดบทที่ 12


แบบฝึกหัดบทที่ 12  เรื่องตั๋วเงิน

1. ผู้จ่ายเงินตามตั๋วแลกเงินคือใคร
    .   ผู้สั่งจ่าย
    ข.   ธนาคาร
    ค.   ผู้ทรงตั๋ว        
    .   ผู้รับรองตั๋ว

2. ตั๋วเงินตามกฎหมายไทยมีกี่ประเภท
    ก. 1 ประเภท         ข. 2 ประเภท
    ค. 3 ประเภท         ง. 4 ประเภท

3. ตั๋วเงินที่กิจการเป็นผู้ออกเพื่อชําระค่าสินค้า คือ
    ก. ตั๋วสั่งจ่าย            ข. ตั๋วเจ้าหนี้
    ค. ตั๋วเงินรับ             ง. ไม่มีข้อใดถูก

4. ลักษณะสำคัญของตั๋วเงิน ข้อใดไม่ใช่
    ก. เป็นเอกสารที่เป็นตราสาร         
    ข. เป็นหนังสือสัญญาที่กฎหมายรับรองและคุ้มครองให้แก่ผู้ทรงตราสาร
    ค. เป็นเอกสารที่ไม่เป็นตราสาร 
    ง. ไม่มีข้อใดถูก

5. ข้อใดคือประเภทของตั๋วเงิน
    ก. ตั๋วแลกเงิน               ข. ตั๋วสัญญาใช้เงิน
    ค. เช็ค                       ง. ถูกทุกข้อ

6. ลักษณะของตั๋วแลกเงินคือบทบัญญัติมาตราใด
      ก. 905
      ข. 906
      ค. 907
      ง. 908

7. เอกสารอันเป็นตราสาร มีบุคคลเกี่ยวข้องอยู่กี่ฝ่าย
      ก. โรงงานจำพวกที่ 1
      ข. โรงงานจำพวกที่ 2
      ค. โรงงานจำพวกที่ 2 และ 3
      ง. โรงงานจำพวกที่ 3

8. ผู้สั่งจ่าย คือ
      ก. ความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน
      ข. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิมและปัจจุบันเป็น
      ค. อยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิม
      ง. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้จ่ายตามมูลหนี้เดิมและอยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ผู้รับเงิน หรือผู้ถือตามมูลหนี้เดิมและมูลหนี้ในตั๋ว

9.  ผู้จ่าย คือ
      ก. ความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน
      ข. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิมและปัจจุบันเป็นเจ้าหนี้ตามตั๋วแลกเงินฉบับนี้ด้วย
      ค. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้จ่ายตามมูลหนี้เดิมและอยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ผู้รับเงิน หรือผู้ถือตามมูลหนี้เดิมและมูลหนี้ในตั๋ว
      ง. อยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิม

10. ผู้รับเงิน  คือ
      ก. ความจำเป็นในการควบคุมการป้องกันเหตุเดือดร้อน
      ข. อยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิม
      ค. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้จ่ายตามมูลหนี้เดิมและอยู่ในฐานะเป็นลูกหนี้ผู้รับเงิน หรือผู้ถือตามมูลหนี้เดิมและมูลหนี้ในตั๋ว
      ง. อยู่ในฐานะเป็นเจ้าหนี้ของผู้สั่งจ่ายตามมูลหนี้เดิมและปัจจุบันเป็นเจ้าหนี้ตามตั๋วแลกเงินฉบับนี้ด้วย

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 12
1.   ง.
2.   ค.
3.   ก.
4.   ค.
5.   ง.
6.   ข.
7.   ง.
8.   ง.
9.   
10.  ง.

แบบฝึกหัดบทที่ 11


แบบฝึกหัดบทที่ 11  เรื่องสัญญาตัวแทนและนายหน้า

1. มาตราเด่นที่เกี่ยวข้องกับตัวแทนคือ
    . 797
    ข. 798 , 810
    . 811, 812
    . ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดคือ สิทธิของนายหน้า
    . นายหน้ามีสิทธิได้รับบำเหน็จเมื่อคู่กรณีเข้าทำสัญญากันแล้วก็ตกลงเรื่องบำเหน็จและจำนวนของบำเหน็จตามปพพ. มาตรา 86
    . นายหน้าเรียบให้คู่สัญญาชดใช้ค่าใช้จ่ายที่ตนเองเสียไปเมื่อสัญญาจะมีได้ทำการสำเร็จ
    . ถูกทั้ง ก. และ ข.
    . ไม่มีข้อใดถูก

3. นายหน้าหมายถึง
    . บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบำเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่จะชี้ช่องให้ได้เข้าทำสัญญาก็ดีจัดการให้ได้ทำสัญญาก็ดีท่านว่าบุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช่ค่ากำเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำการสำเร็จ
    . เป็นสัญญาตัวแทนชนิดหนึ่ง
    . ตัวแทนค้าต่าง เป็นผู้ที่มีอาชีพการค้า
    . กิจการที่ตัวแทนค้าต่างทำได้มีเฉพาะเป็นตัวแทนในการซื้อหรือขายทรัพย์สินหรือจัดกิจการค้าขายอย่างอื่น

4. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของตัวแทนค้าต่าง
    . ตัวแทนค้าต่าง เป็นผู้ที่มีอาชีพการค้า
    . เป็นสัญญาตัวแทนชนิดหนึ่ง
    . บุคคลผู้ใดตกลงจะให้ค่าบำเหน็จแก่นายหน้าเพื่อที่จะชี้ช่องให้ได้เข้าทำสัญญาก็ดีจัดการให้ได้ทำสัญญาก็ดีท่านว่าบุคคลผู้นั้นจะต้องรับผิดใช่ค่ากำเหน็จก็ต่อเมื่อสัญญานั้นได้ทำการสำเร็จ
    . กิจการที่ตัวแทนค้าต่างทำได้มีเฉพาะเป็นตัวแทนในการซื้อหรือขายทรัพย์สินหรือจัดกิจการค้าขายอย่าง

5. ตัวแทนหมายถึง
      ก. ตัวแทนค้าต่าง เป็นผู้ที่มีอาชีพการค้า
      ข. สัญญาตัวแทนนั้นคือสัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งเรียกว่าตัวแทนมีอำนาจทำการแทนบุคคลอีกคนเรียกว่าตัวการ
      ค. กิจการที่ตัวแทนค้าต่างทำได้มีเฉพาะเป็นตัวแทนในการซื้อหรือขายทรัพย์สินหรือจัดกิจการค้าขาย
      ง. เป็นสัญญาตัวแทนชนิดหนึ่ง

6. สิทธิหน้าที่และความรับผิดชอบของตัวแทนต่อตัวการ คือ
      ก. ตัวแทนต้องทำการตามคำสั่งแสดงออกชัดหรือโดยปริยายของตัวการเมื่อไม่มีคำสั่งเช่นนี้ก็ต้องดำเนินการตามทางที่เคยทำมาในกิจการค้าขายอังกฤษเค้าให้ตนทำอยู่นั้น
      ข. กระทำกิจการด้วยตนเองมีแต่จะมีอำนาจใช้ตัวแทนช่วงทำการได้
      ค. ตัวแทนต้องส่งเงินหรือทรัพย์สินอย่างอื่นที่ได้มาในฐานะตัวแทนแก่ตัวการ
      ง. ถูกทุกข้อ


7. สัญญาตัวแทนระงับ เพราะ............
      ก. เพราะตัวแทนตาย
      ข. ล้มละลาย
      ค. ตัวแทนตกเป็นผู้ไร้ความสามารถ
      ง. ถูกทุกข้อ

8. ข้อใดไม่ใช่ความรับผิดของตัวการต่อบุคคลภายนอก
      ก. รับผิดกรณีตัวแทนทำการไม่เกินอำนาจ
      ข. รับผิดกรณีตัวแทนทำการเกินอำนาจ
      ค. ในกรณีให้สัตยาบัน กิจการที่ตัวเองจะทำไป
      ง. ถูกทุกข้อ

9.  กรณีที่ลูกหนี้ไม่อาจถือเอาประโยชน์แห่งเงื่อนเวลาเริ่มต้นหรือสิ้นสุดได้คือ....
      ก. ลูกหนี้ถูกศาลสั่งให้เป็นคนล้มละลาย
      ข. ลูกหนี้ให้ประกันเมื่อจำต้องให้
      ค. ถูกทุกข้อ
      ง. ไม่มีข้อใดถูก

10. ความรับผิดชอบของตัวแทนต่อบุคคลภายนอก
      ก. ตัวแทนทำสัญญายินยอมรับผิดเป็นการส่วนตัวไม่เกี่ยวกับตัวการ
      ข. ลูกหนี้ให้ประกันเมื่อจำต้องให้
      ค. ถูกทุกข้อ
      ง. ไม่มีข้อใดถูก

เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 11
1.   ง.
2.   ค.
3.   ก.
4.   ค.
5.   ข.
6.   ข.
7.   ง.
8.   ง.
9.   ก.
10.  ค.

แบบฝึกหัดบทที่ 14

แบบฝึกหัดบทที่ 14  เรื่องกฎหมายโรงงาน และการจัดตั้งโรงงาน 1. โรงงานคืออะไร     ก . อาคาร สถานที่หรือยานพาหนะ     ข. ใช้เครื่องจัก...